เกจวัดแรงดัน แบบไหนที่ดีที่สุดและคู่ควรในปี 2023
วันนี้ผู้เขียนจะแนะนำยี่ห้อ (Brand) ของ Pressure Gauge ที่บอกได้เลยว่าคุ้มค่าทั้งในด้านคุณภาพ ราคาและบริการ โดยเป็นข้อมูล Feedback ของผู้ใช้จริง จากโรงงานใหญ่กว่า 50 แห่ง ทั่วประเทศ
เกจวัดแรงดันยี่ห้อไหนดี (Which Brand of Pressure Gauge)
10 อันดับเกจวัดแรงดันน่าซื้อ ประจำปี 2023
- WIKA
- OCTA
- X-RAY
- NUOVAFIMA
- X-RAY
- IK
- SSD
- LR
- ASAHI
- TAG
วิธีเลือกเกจวัดแรงดัน
การเลือกเกจวัดแรงดัน (Pressure Gauge) ให้ดูปัจจัย x อย่างนี้
- ย่านการวัด (Range)
- ขนาดหน้าปัด (Dial Size)
- วัสดุภายใน (Material)
- ความแม่นยำ (Accuracy)
- มาตรฐานที่ได้รับ (Standard)
- การรับประกัน (Waranty)
ย่านการวัด (Range)
ขนาดหน้าปัด (Dial Size)
วิธีเลือกขนาดหน้าปัด 2.5″ หรือ 4″ หรือใหญ่กว่า ควรคำนึงถึงความแม่นยำที่ต้องการและความสะดวกในการอ่านค่า
– หน้างานบางแห่งผู้จดค่าแรงดันจำเป็นจะต้องอยู่ให้ห่างจากจุดวัด จึงใช้หน้าปัดขนาด 6″ เพื่อให้อ่านค่าได้ง่าย
– ในบางงานต้องการความละเอียด จึงใช้หน้าปัดขนาด 4″ แทน 2.5″ เนื่องจากขนาดยิ่งใหญ่ยิ่งมีค่าความแม่นยำที่สูงกว่า
วัสดุภายใน (Material)
ในงานอุตสาหกรรม มีปัจจัยสำคัญในการเลือกสินค้าคือเรื่องวัสดุ ต้องไม่ทำปฏิกิริยากับสภาพแวดล้อมในงานหรือมีค่าต้านทานคุณสมบัติของ Media ในระบบได้
เพราะฉะนั้นการเลือกวัสดุว่าเป็น ทองเหลือง(Brass) หรือสแตนเลส(Stainless) ควรพิจารณาจากสภาพแวดล้อมและของไหลในระบบเป็นสำคัญ
ความแม่นยำ (Accuracy)
ยิ่งขนาดหน้าปัดใหญ่ความแม่นยำในการวัดค่ายิ่งสูงขึ้น โดยเกจวัดที่มีคุณภาพจะมีการระบุค่า Accuracy Class ไว้ในเอกสาร เช่น 0.5, 1.6 เป็นต้น ค่าดังกล่าวคือความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้นได้จากการอ่านค่า ค่ายิ่งน้อยยิ่งดี หมายความว่า หากมีค่าความคลาดเคลื่อยน้อยเท่าไร การอ่านค่าจะสามารถระบุได้อย่างละเอียดและแม่นยำขึ้นนั่นเอง
มาตรฐานที่ได้รับ (Standard) หรือการได้รับ Certificated
ซึ่งการ Calibrate จะได้รับโดยการนำสินค้าส่งให้กับตัวแทนที่มีใบอนุญาตในการ Calibrate เครื่องมือวัดเท่านั้น เมื่อผ่านการแคลแล้วทางตัวแทนจะออกใบ certificate of calibration ให้ โดยในใบดังกล่าวจะรุบุช่วงที่มีการแคลว่าเกิดความคาดเคลื่อนตรงเท่าใด ตรงตามที่ระบุไว้หรือไม่
การรับประกัน (Waranty)